คุณสมบัติทางวิศวกรรมของ Cement Column และวิธีการทดสอบ
นายพินิต ตั้งบุญเติม
รองศาสตราจารย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เกษม เพชรเกตุ
รองศาสตราจารย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Pinit Tungboonterm
Associated Professor
King Mongkul's University of Technology Thonburi
Kasem Petchgate
Associated Professor
King Mongkul's University of Technology Thonburi
นายพินิต ตั้งบุญเติม
รองศาสตราจารย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เกษม เพชรเกตุ
รองศาสตราจารย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Pinit Tungboonterm
Associated Professor
King Mongkul's University of Technology Thonburi
Kasem Petchgate
Associated Professor
King Mongkul's University of Technology Thonburi
บทนำ
การออกแบบ Cement Column จำเป็นต้องทราบคุณสมบัติทางวิศวกรรมของ Cement Column เช่นเดียวกันกับการออกแบบงานคอนกรีต ต้องรู้คุณสมบัติของคอนกรีตซึ่งได้จากการออกแบบส่วนผสม (Mix Design) เนื่องจากวัสดุต่างๆที่จะนำมาใช้ผสมคอนกรีตสามารถเลือกได้ วัสดุที่จะนำมาทำ Cement Column ไม่สามารถเลือกได้ เพราะเป็นการผสมในที่ดินแต่ละที่นั้นจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไป จึงต้องทำ Trial Mix กับทุกๆที่ที่จะออกแบบ เพื่อที่จะทราบถึงคุณสมบัติทางวิศวกรรมที่ต้องการของดินผสมซีเมนต์ในที่นั้นๆ และเมื่อทราบคุณสมบัติของดินผสมซีเมนต์แล้วจึงนำค่าเหล่านั้นไปออกแบบ หากจะแบ่งเป็นขั้นตอนการควบคุมคุณภาพของ Mix Design สำหรับงาน Cement Column สามารถแบ่งออกได้ 3 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เรียกว่า Pre - construction Investigation กระทำเมื่อนำมาพิจารณาสภาวะต่างๆของวัสดุต่างๆ เช่น ปูนซีเมนต์ สภาพดิน สภาพแวดล้อม สารปนเปื้อนในดิน สภาพน้ำใต้ดิน ค่า sensitivity ของดินว่าจะมีผลต่อการออกแบบ Cement Column อย่างไรหรือไม่
ขั้นตอนที่ 2 เรียกว่า Quality Control during Construction จะทำการสำรวจระหว่างการก่อสร้างว่า Cement Column มีคุณสมบัติต่างๆตรงกับที่ได้กำหนดไว้หรือไม่
ขั้นตอนที่ 3 เรียกว่า Post Construction Verification ซึ่งจะกระทำหลังจากทำ Cement Column เสร็จเรียบร้อยแล้ว เพื่อยืนยันถึงคุณภาพและปริมาณของดินที่ปรับปรุงคุณภาพแล้ว
Download File : คุณสมบัติทางวิศวกรรมของ Cement Column และวิธีการทดสอบ